วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

การบันทึกอนุทิน


Science Experiences Management for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran
23 september 2014 ครั้งที่ 6 Group 103
Time 08:30-12:20



กิจกรรมที่ทำในวันนี้

     วันนี้เริ่มด้วยการใช้คำถาม (Question) เพื่อให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการตอบ
ซึ่งได้ใช้คำถามว่า Constructivism เกี่ยวข้องอย่างไรกับปฐมวัย? : ซึ่งคำตอบก็คือ 
การเรียนรู้ด้วยตนเอง การลงมือปฏิบัติจริง โดยมีเครื่องมือคือ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 
(The Five Senses) จึงทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้ จึงทำให้เชื่อมโยงได้ว่า 
พัฒนาการ (Development) คือ การแสดงความสามารถตามวัย + คุณลักษณะตามวัย 
= ธรรมชาติของเด็ก 

     จากนั้นอาจารย์ก็ได้แจกอุปกรณ์มาคือ กระดาษเหลือใช้ และไม้เสียบลูกชิ้น
แล้วให้วาดภาพอะไรก็ได้ที่คิดว่าสัมพันธ์กัน ฉันจึงวาด ปลา (Fish)กับน้ำ (Water) 
แล้วก็นำมาประกบกัน แล้วก็เอาไม้เสียบลูกชิ้นสอดไปด้านในแล้วติดกาวให้แน่น 
เมื่อนำมาหมุนก็จะเห็นทั้งสองภาพดังนี้






     จากนั้นก็ได้นำสื่อที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มาให้ดู 

     หลังจากนั้นเพื่อนๆก็ออกไปนำเสนอ (Article) ดังนี้
  • Miss Wiranda Khayanngan
    เรื่อง สอนลูกเรื่องพืช
         - สอนลูกปลูกดอกไม้ ก็จะมี วัดขนาด ความสูง ใช้ทักษะการสังเกต
         - เกมการศึกษา ก็จะมี เกมจับคู่ภาพผัก ส่งเสริมทางด้านความคิด
  • Miss Arunchit Hanhao
    เรื่อง เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานสำหรับเด็กปฐมวัย
         - ใช้นิทานเป็นสื่อในการเรียนรู้ เด็กจะรู้จักการเชื่อมโยง เป็นสื่อที่หาได้ง่าย
         - เด็กเกิดจินตนาการ
  • Miss Natthida Rattanachai
    เรื่อง แนวทางสอนคิด เติม "วิทย์" ให้เด็กอนุบาล
         - ครูต้องมีความแม่นยำ
  • Miss Arnitimon Semma
    เรื่อง การทดลองวิทยาศาสตร์สนุกๆ สำหรับคุณหนูๆ
         - ช่วยฝึกให้เด็กเพิ่มทักษะความรู้เกี่ยวกับการสังเกต ทักษะการมอง
           ทักษะการฟัง



เทคนิคการสอน

     - อาจารย์มีสื่อมาให้นักศึกษาได้สัมผัส
     - มีการใช้คำถาม


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

     เราสามารถนำตัวอย่างของสื่อมาปรับใช้ในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ของเด็กได้
โดยที่ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง


ประเมินตนเอง

     ตั้งใจเรียน ฟังอาจารย์สอน


ประเมินเพื่อน

     มีพูดคุยหยอกล้อกันบ้าง


ประเมินอาจารย์

     อาจารย์สอนโดยให้รายละเอียดทำให้เข้าใจมากขึ้น


เพิ่มเติม

     1.บิดาการศึกษาปฐมวัย คือ เฟรดริค วิสเฮม เฟรอเบล 
      2.ใครพูดเด็กเหมือนผ้าขาว คือ ฌอง ฌาค รุสโซ






วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

การบันทึกอนุทิน


Science Experiences Management for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran
16 september 2014 ครั้งที่ 5 group 103
Time 08:30 - 12:20




กิจกรรมที่ทำในวันนี้

          วันนี้เรื่มด้วยการเปิดเพลง (Music) ให้ฟัง ชื่อเพลง "วิทยาศาสตร์" 
จากนั้นมาช่วยกันวิเคราะห์ (Analysis) เพลงเป็นสื่อที่ดี การที่เราจะเรียนรู้ได้ดี
ควรมีเครื่องมือ (Tools) ในการรับรู้คือ ประสาทสัมผัสทั้ง 5

          หลังจากนั้นเพื่อนๆก็ออกไปนำเสนอ (Article) ดังนี้
  • Miss Preeyanuch Chontap
    เรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
  • Miss Payada Pongpan
    เรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
สรุป Mind Map การเรียนได้ดังนี้ค่ะ







จากนั้นก็ได้ดู VDO ความลับของแสง (The Secret of Light) ดังนี้ค่ะ







เทคนิคการสอน

     - นำเข้าสู่บทเรียนด้วยการเปิดเพลงให้ฟัง
     - ตั้งคำถามเพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบ

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

     สามารถนำความรู้ไปทำการทดลองได้จริง และสามารถนำมาเป็นสื่อการเรียนให้
เด็กปฐมวัยในเรื่อง วิทยาศาสตร์ได้อีกด้วย

เพิ่มเติม

     จับกลุ่มๆละ 5 คน ทำ Mind Map เรื่อง ไข่ (egg)




     
    


วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

การบันทึกอนุทิน



Science Experiences Management for Early Childhood
Teacher Jintana Suksamran
9 september 2014 ครั้งที่ 4 Group 103
Time 08:30 - 12:20




กิจกรรมที่ทำในวันนี้

          วันนี้เริ่มจากที่อาจารย์เปิดบล็อกของทุกคนและให้กลับไปแก้ไข และปรับปรุง (update) จากนั้นก็ให้เพื่อนออกไปนำเสนอ article ดังต่อไปนี้
  • Miss Darawan Glomchai
    เรื่อง จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ
  • Miss Phathinthida Chaloembun
    เรื่อง ทำอย่างไร? ให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์
  • Miss Jirawan Jannongwa
    เรื่อง วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สำคัญอย่างไร
  • Miss Umaporn Porkkati
    เรื่อง เมื่อลูกน้อยเรียนรู้ วิท-คณิต
  • Miss Jarunan Jankun
    เรื่อง การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


    เนื่อหาที่อาจารย์บรรยาย








mind map






เทคนิคการสอน

     - มีการใช้คำถามเพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วม
     - สอนโดยใช้เทคโนโลยี
     - การนำเสนอบทความแล้วนำมาวิเคราะห์

การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

     นำความรู้เรื่องทักษะวิทยาศาสตร์ไปใช้ในอนาคตได้อย่างถูกต้องถูกวิธี

เพิ่มเติม

     ค้นคว้า ทักษะของวิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง







วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 2 กันยายน 2557 ครั้งที่ 3 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 08:30 - 12:20 น.




กิจกรรมที่ทำในวันนี้

          วันนี้อาจารย์เริ่มด้วยเปิดบล็อกของเพื่อนๆแต่ละคนเพื่อดูความเคลื่อนไหวและบอก
ข้อบกพร่องให้กลับไปแก้ไขให้ดีขึ้น

          จากนั้นก็ให้คนที่จัดไว้ออกไปนำเสนอบทความของตนเองที่หามาเพื่อเป็นความรู้
แก่เพื่อนๆดังต่อไปนี้
  • Miss Kamonwan Nakwichen
    เรื่อง วิทยาศาสตร์และการทดลอง
  • Miss Sirida Sukbut
    เรื่อง ภาระกิจตามหาใบไม้
  • Miss Siripon Pudlom
    เรื่อง เรื่องไม่เล็กของเด็กชายขอบ กับการสร้างกระบวนการเรียนรู้วิทย์แบบบูรณาการ
  • Miss Siriwan Krutniam
    เรื่อง การแยกประเภทเมล็ดพืช
  • Miss Kwanruthai Yaisuk
    เรื่อง เจ้าลูกโป่ง
จากนั้นอาจารย์ก็ได้แนะเกี่ยวกับวิธีการออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียนที่ถูกต้องอีกด้วย


เนื่อหาที่อาจารย์บรรยาย








mind map








การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้

          นำความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดในการเรียนในวิชานี้          







วันอาทิตย์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ครูผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 26 สิงหาคม 2557 ครั้งที่ 2 กลุ่ม 103
เวลาเรียน 08:30 - 12:20 น.




กิจกรรมที่ทำในวันนี้




การนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้

          นำความรู้และกระบวนการความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดประสบการณ์แก่เด็กปฐมวัย

ความรู้เพิ่มเติม

         - วิทยาศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเด็กในชีวิตประจำวัน
         - คณิตศาสตร์ + ทักษะทางภาษา เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้